คำซ้ำ คำซ้อน


คำซ้ำ   คือ  คำที่เกิดจากการซ้ำเสียงคำเดียวกันตั้งแต่  2  หน  ขึ้นไป   เพื่อทำให้เกิดคำใหม่ได้ความหมายใหม่  มีลักษณะสำคัญ  ดังนี้
              1.  ชนิดของคำไทยที่เอามาซ้ำกัน  ในภาษาไทยเราสามารถเอาคำทุกชนิดมาซ้ำได้  ดังนี้
1)  ซ้ำคำนาม               เช่น   พี่ ๆ   น้อง    เด็ก ๆ
2)  ซ้ำคำสรรพนาม         เช่น   เขา ๆ  เรา ๆ  คุณ 
3) ซ้ำคำวิเศษณ์            เช่น   เร็ว ๆ  ไว    ช้า 
4)  ซ้ำคำกริยา             เช่น    นั่ง    นอน    เดิน 
5)  ซ้ำคำบุพบท           เช่น  ใกล้    ไกล    เหนือ ๆ
6)  ซ้ำคำสันธาน           เช่น  ทั้ง    ที่  เหมือน    ราว     กับ
7)  ซ้ำคำอุทาน            เช่น  โฮ ๆ  กรี๊ด     อุ๊ย 
2.  นำคำซ้อนมาแยกเป็นคำซ้ำ   เช่น
ลูบคลำ           เป็น   ลูบ ๆ  คลำๆ
เปรอะเปื้อน   เป็น  เปรอะๆ  ปื้อน
นุ่มนิ่ม            เป็น  นุ่ม ๆ  นิ่ม ๆ
อดอยาก         เป็น   อดๆ  อยาก ๆ
นำคำซ้ำมาประสมกัน  เช่น  งู ๆ  ปลา ๆ,   ไป ๆ  มา ๆ,    ชั่ว ๆ  ดี  ,   ลม     แล้ง ๆ
         2. นำคำซ้ำมาเปลี่ยนเสียงวรรณยุกต์  เพื่อเน้นความหมาย  เช่น  ดี๊ดี   เบื๊อเบื่อ  ดีใจ๊ดีใจ
ลักษณะของคำซ้ำ
 1.  บอกความหมายเป็นพหูพจน์  มักเป็นคำนาม และสรรพนาม เช่น
เด็ก    กำลังร้องเพลง
พี่    โรงเรียน
หนุ่ม ๆ  กำลังเล่นฟุตบอล
 2.  บอกความหมายเป็นเอกพจน์   แยกจำนวนออกเป็นส่วน ๆ  มักเป็นคำลักษณนาม เช่น
ล้างชามให้สะอาดเป็นใบ ๆ
อ่านหนังสือเป็นเรื่อง 
ไสกบไม้เป็นแผ่น 
3.   บอกความหมายเน้นหนัก  มักเป็นคำวิเศษณ์  เช่น
พูดดัง 
ฟังดี 
นั่งนิ่ง 
สวย 
  4.   บอกความไม่เน้นหนัก  เช่น
เสื้อสีแดง 
กางเกงสีดำ 
บ้านสีขาว 
3. บอกคำสั่ง  มักเป็นคำกริยา  เน้นความและบอกคำสั่ง  เช่น
อยู่เงียบ 
พูดดัง 
เดินเบา 
ออกห่าง 
 5.  เปลี่ยนความหมายใหม่   โดยไม่มีเค้าความเดิม  เช่น
กล้วย 
หมู 
งู    ปลา 
แยกคำซ้อนมาเป็นคำซ้ำ  เช่น
จืด ๆ ชืด ๆ
พี่    น้อง 
หมายเหตุ  คำที่ออกเสียงซ้ำกันไม่ใช่คำซ้ำเพราะไม่ได้เกิดคำขึ้นใหม่และความหมายไม่เปลี่ยนไป  ในกรณีเช่นนี้จะใช้ไม้ยมกแทนไม่ได้  เช่น
เขาเอาแต่เล่นเล่นจนลืมกินข้าวกินปลา             เล่นเล่น  ไม่ใช่คำซ้ำ
เขาเอแต่ซนซนในแต่ละวัน                           ซนซน    ไม่ใช่คำซ้ำ
เราควรเก็บของไว้ในที่ที่ของมัน                     ที่ที่      ไม่ใช่คำซ้ำ
เขาออกกำลังกายทุกวันวันละครึ่งชั่วโมง           วันวัน    ไม่ใช่คำซ้ำ
คำซ้อน    คือ  คำที่เกิดจากการเอาคำมูลที่มีความหมายเหมือนกัน  หรือคล้ายคลึงกัน  เป็นคำประเภทเดียวกัน  ตั้งแต่    คำขึ้นไป  มารวมกันความหมายที่เกิดขึ้นมีลักษณะใดลักษณะหนึ่ง ดังนี้
1. มีความหมายชัดเจนหนักแน่นขึ้น  เช่น
ใหญ่โต           หมายถึง     ใหญ่มาก
ทรัพย์สิน         หมายถึง    ของมีค่าทั้งหมด
2. มีความหมายกว้างขึ้น  เช่น 
พี่น้อง             หมายถึง     ญาติทั้งหมด
เสื้อผ้า            หมายถึง      เครื่องนุ่งห่ม
3. มีความหมายแคบลง  เช่น
หยิบยืม           หมายถึง      ยืม
เงียบเชียบ        หมายถึง      เงียบ
เอร็ดอร่อย        หมายถึง      อร่อย
           4.  มีความหมายเชิงอุปมา  เช่น
คับแคบ   อุ้มชู   ถากถาง  หนักแน่น  ดูดดื่ม
ชนิดของคำซ้อน
1. คำซ้อนเพื่อความหมาย  ได้แก่การนำคำมูลที่มีความหมายอย่างเดียวกัน  หรือใกล้เคียงกันมาหรือตรงกันข้ามมารวมกัน
1)   ความหมายอย่างเดียวกัน  เช่น  เติบโต  อ้วนพี  มากมาย  ข้าทาส  สูญหาย  โง่เขลา ๒)  ความหมายตรงกันข้าม  เช่น  ถูกผิด  ยากง่าย  หนักเบา  สูงต่ำดำขาว ศึกเหนือเสือใต้   ดีร้าย  ผิดชอบ
2)  ความหมายใกล้เคียงกัน  เรือแพ  หน้าตา  คัดเลือก  ข้าวปลา  เสื้อผ้า
 2.  คำซ้อนเพื่อเสียง   เกิดจากการนำคำที่มีเสียงคล้ายกันมาซ้อนกันเพื่อให้ออกเสียงง่ายขึ้น  มีเสียงคล้องจองกัน  เกิดความไพเราะขึ้น  เช่น
เกะกะ   ขรุขระ   เก้งก้าง  โผงผาง   ท้อแท้    เพลิดเพลิน   กินแก็น   ยู่ยี่    หลุกหลิก    จุ๋มจิ๋ม    หยุมหยิม   โอนเอน  ตุกติก  ตูมตาม


ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น